พิษสุนัขบ้า หรือโรคกลัวน้ำ เกิดจากเชื้อไวรัส ดาวโจนส์ ที่ติดต่อผ่านทางน้ำลายของสัตว์ ที่ติดเชื้อหรือบาดแผลที่ถูกกัด หรือทางเยื่อเมือก เช่น เยื่อบุตา เยื่อบุจมูก และปาก ซึ่งอาจทำให้ติดเชื้อได้ โดยไม่ต้องมีบาดแผล มากกว่า 90% โรคพิษสุนัขบ้าในไทย จะเกิดจากการถูกสุนัขกัด แต่ความเป็นจริง สามารถเกิดได้ในสัตว์ทุกชนิด ที่เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น แมว ค้างคาว ลิง ชะนี กระรอก หนู วัว หรือควาย ก็สามารถติดเชื้อได้ โรคพิษสุนัขบ้า ก็สามารถป้องกันได้ หากผู้ติดเชื้อได้รับวัคซีนป้องกัน Post-Exposure Prophylaxis (PEP) หลังจากถูกสุนัขกัด แต่มีคนจำนวนมาก ที่ไม่ตระหนักถึงอันตราย ไม่รับการฉีดวัคซีน ซึ่งอัตรายต่อชีวิตได้ เนื่องจากไม่มีใครรอดชีวิต จากการติดเชื้อได้ หรืออาจจะอยู่ในอาการโคม่าหลายอาทิตย์ และใช้เวลาอีกหลายปีในการฟื้นฟู
วัคซีนป้องกันโรค พิษสุนัขบ้า ต้องฉีดกี่เข็ม?
กระทรวงสาธารณสุข คาสิโนออนไลน์เว็บตรง และ สภากาชาดไทยแนะนำการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าที่จำนวน 1-5 เข็ม ขึ้นอยู่กับว่าเคยฉีดวัคซีนมาก่อนหรือไม่ โดยมีวิธีการฉีด 2 แบบ ดังนี้
- การฉีดวัคซีนใต้ผิวหนัง (Intradermal: ID)
- การฉีดวัคซีนเข้ากล้ามเนื้อ (Intramuscular: IM)
เราจะป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้อย่างไร?
การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า สามารถทำได้โดยการดูแลสุขภาพอนามัย ของสัตว์เลี้ยงให้ปลอดภัย และหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสัตว์ป่า รวมถึงปฏิบัติตามข้อปฎิบัติต่าง ๆ ดังนี้
- นำสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข และแมว เข้ารับการฉีดวัคซีน ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า จนครบตามจำนวนเข็ม ที่สัตวแพทย์กำหนด และฉีดซ้ำทุกปี
- จัดที่อยู่อาศัยที่เป็นกิจลักษณะให้สัตว์เลี้ยง ให้สัตว์เลี้ยงอยู่ในกรง หรือในบ้านเวลากลางคืน ไม่ปล่อยสัตว์เลี้ยงไปในที่สาธารณะ
- ไม่สัมผัสสัตว์ป่า หรือปล่อยให้สัตว์เลี้ยงสัมผัสกับสัตว์ป่าหรือสัตว์จรจัด เพื่อหลีกเลี่ยงโอกาสที่สัตว์เลี้ยงจะถูกกัด
- หากพบสัตว์จรจัด ที่ต้องสงสัยว่าเป็นโรคพิษสุนัขบ้า ให้ติดต่อเจ้าหน้าที่ หรือหน่วยงานท้องถิ่น ที่รับผิดชอบทันที
- แนะนำให้ฉีดวัคซีแบบป้องกันล่วงหน้า ในผู้ที่มีความเสี่ยงสูง เช่น สัตวแพทย์ ผู้ที่ทำงานในสวนสัตว์ ผู้ที่ทำงานในห้องทดลอง ที่มีความเสี่ยงสัมผัสกับไวรัสโรคพิษสุนัขบ้า ผู้ที่ต้องเดินทางไปพื้นที่ห่างไกลที่มีการระบาดของโรค และผู้ที่ชื่นชอบการตั้งแคมป์ เดินป่า ทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า
Leave a Reply